วันพุธที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559

๘๘. ร อาคม

ศึกษาบาฬีไวยากรณ์กับคัมภีร์นิรุตติทีปนี
ครั้งที่ ๘๘  : พยัญชนอาคม : การลง ร อาคม

คัมภีร์นิรุตติทีปนีแสดงการลง ร เป็นพยัญชนอาคมไว้ด้วยหลักการของสูตรว่า
๕๐ วนตรคา จาคมา
เพราะสระอันเป็นเบื้องหลัง พยัญชนะเหล่านี้ คือ ว, น, ต, ร, ค (กลุ่มหนึ่ง), และ ย ท (อีกกลุ่มหนึ่ง) เป็นอักษรอาคม.
ตัวอย่างการใช้ ร อาคม ดังต่อไปนี้


นิรนฺตรํ  = ไม่มีช่องว่าง
นิ + อนฺตรํ      

นิรตฺถกํ  = ไม่มีประโยชน์
นิ + อตฺถกํ      

นิราหาโร = อดอาหาร, ขาดอาหาร      
นิ + อาหาโร

นิราพาโธ = ไม่มีโรค   
นิ + อาพาโธ   

นิราลโย = ไม่มีอาลัยคือตัณหา 
นิ + อาลโย     

นิรินฺธโน อคฺคิ = ไฟหมดเชื้อ
นิ + อินฺธโน อคฺคิ        

นิรีหกํ = ไม่มีความพยายาม, ไม่ขวนขวาย
นิ + อีหกํ        

นิรุทกํ = ไม่มีน้ำ         
นิ + อุทกํ

นิรุตฺติ = นิรุตติ, การออกเสียง
นิ + อุตฺติ        
นิรุตฺตโร = ไม่มีผู้เหนือกว่า     
นิ + อุตฺตโร     

นิรูมิกา นที = แม่น้ำไม่มีคลื่น
นิ + อูมิกา นที 

นิโรชํ = ไม่มีโอชะ, ไม่มีเดช, หมดฤทธิ์, อับแสง
นิ + โอชํ        

ทุรติกฺกโม = ก้าวพ้นได้ยาก     
ทุ + อติกฺกโม   

ทุรภิสมฺภโว  = การเกิดใหม่ได้ยาก
ทุ + อภิสมฺภโว

ทุราสทา พุทฺธา = พระพุทธเจ้า ผู้ใครๆเอาชนะได้ยาก  
ทุ + อาสทา พุทฺธา      

ทุราขฺยาโต ธมฺโม = พระธรรม อันบุคคลบอกได้ยาก
ทุ + อาขฺยาโต ธมฺโม    

ทุราคตํ = มาได้โดยยาก
ทุ + อาคตํ      

ทุรุตฺตํ วจนํ = คำที่กล่าวไว้ไม่ดี
ทุ + อุตฺตํ วจนํ  

ปาตุรโหสิ = ปรากฏแล้ว        
ปาตุ + อโหสิ   

ปาตุรหุ = ปรากฏแล้ว
ปาตุ + อหุ      
ปาตุรเหสุํ = ได้ปรากฏแล้ว     
ปาตุ + อเหสุํ   

ปาตราโส = อาหาร (ในเวลา) เช้า       
ปาตุ + อาโส    

ปุนเรติ  = มาอีก
ปุน + เอติ       

ธีรตฺถุ = น่าตำหนิ
ธี + อตฺถุ        

จตุรงฺคิกํ ฌานํ = ญานประกอบด้วยองค์ ๔      
จตุ + องฺคิกํ ฌานํ        

จตุรารกฺขา = ธรรมเครื่องรักษา ๔ ประการ
จตุ + อารกฺขา  

จตุราสีติสหสฺสานิ = แปดหมื่นสี่พัน    
จตุ + อสีติสหสฺสานิ     

จตุริทฺธิลาโภ = การได้ฤทธิ์ ๔  
จตุ + อิทฺธิลาโภ

จตุโรฆา = โอฆะ ๔    
จตุ + โอฆา     

วุทฺธิเรสา = ความเจริญนี้       
วุทฺธิ + เอสา    

ปถวีธาตุเรเวสา = ปฐวีธาตุนี้  
ปถวีธาตุ + เอวส        

อาโปธาตุเรเวสา = อาโปธาตุนี้
อาโปธาตุ + เอสา        

สพฺภิเรว สมาเสถ = พึงเชยชิดกับสัตบุรุษท.เท่านั้น      
สพฺภิ + เอว สมาเสถ    

นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ = เหมือนดังดาวฤกษ์ของดาวทั้งหลาย         
นกฺขตฺตราชา + อิว ตารกานํ     

วิชฺชุริว อพฺภกูเฏ  =  เหมือนดังสายฟ้าบนยอดเมฆ
 วิชฺชุ + อิว อพฺภกูเฏ    

อารคฺเคริว = เหมือน (เมล็ดผัก) บนปลายหลาว
อารคฺเค + อิว  

อุสโภริว = เหมือนโคผู้
อุสโภ + อิว

ยถาริว = ฉันใดนั่นเทียว
ยถา + อิว

ตถาริว = ฉันนั้นนั่นเทียว
ตถา + อิว

สำหรับสองรูปนี้ คือ ยถริว และ ตถริว มีการรัสสะ เพราะ ร อาคม.  และ อิวศัพท์ในที่นี้มีอรรถของ เอว ศัพท์.
นอกจากนี้ ในอุทาหรณ์ต่อไปนี้ ก็มีอรรถของเอวศัพท์เช่นกัน
          อติริว กลฺลรูปา
ดีใจยิ่งนักนั่นเทียว

วรมฺหากํ ภุสามิว
ข้าวลีบเท่านั้น เป็นอาหารอย่างสูงสุดของเรา. (ชา.๑/๑๐๘)หรือ (ขุ.ชา.สฺยา ๒๗/๔๕๙)
แม้อรรถกถาก็ว่า อิว ที่คำว่า ภสามิว มีอรรถเอวศัพท์ ดังนี้
ภุสามิวาติ ภุสเมว อมฺหากํ วรํ อุตฺตมนฺติ อตฺโถฯ (ชา.อ. ๑/๑๐๘)
บทว่า ภุสามิว หมายถึง ข้าวลีบเท่านั้น เป็นอาหารอย่างสูงสุดของเรา.
เนตํ อชฺชตนามิว
นินทาและสรรเสริญนั่น ย่อมมีในวันนี้เท่านั้นก็หามิได้. (ขุ.ธ.๒๕/๒๒๗)
แต่ในตัวอย่างนี้  อิว ในคำว่า อชฺชตนามิว อรรถกถาว่า มีอรรถของ วิยศัพท์ คือ อุปมา ดังนี้
เนตํ อชฺชตนามิวาติ อิทํ นินฺทนํ วา ปสํสนํ วา อชฺชตนํ อธุนา อุปฺปนฺนํ วิย น โหติฯ (ธ.ป.อ.๒๒๗ อตุลอุปาสกวตฺถุ)
สองบทว่า เนตํ อชฺชตนามิว นี้ ความว่า การนินทา นี้ ก็ดี การสรรเสริญ นี้ ก็ดี ย่อมเป็นเหมือนกับเกิดขึ้นในวันนี้ คือ ในบัดนี้
**********

นอกจากนี้คัมภีร์นิรุตติทีปนี แสดงว่า อิว และ วิย สามารถมีอรรถของเอวศัพท์ได้ ในตัวอย่างต่อไปนี้
อติวิย ลาภคฺคยสคฺคปปตฺโต,
ถึงความเลิศแห่งลาภและยศอันเลิศเหลือเกินนั่นเทียว

ปรํวิย มตฺตาย
โดยประมาณใหญ่ยิ่งนั่นเทียว.
แต่ในตัวอย่างนี้ ปรํวิย ปัจจุบันเขียนแยกกันเป็น ปรํ วิย มตฺตาย. วิย ในพระสูตรนี้อรรถกถาสีลขันธวรรคแก้เป็น อติมหนฺเตเนว. แต่ในฎีกาสีลขันธวรรคกล่าวว่า วิย เป็น ปทปูรณนิบาต หรือ ที่เรียกว่า นิปาตมัตต์ ส่วน ปรํ เป็นนิบาตในอรรถอติสย แปลว่า อย่างยิ่ง ดังต่อไปนี้

พฺยากเต จ ปน เม อตฺตมโน อโหสิ ปรํ วิย มตฺตายา’’ติฯ (ที.สี.๙/๔๐๔)
เมื่อเราพยากรณ์แล้วเขาปลื้มใจเหลือเกิน

ปรํ วิย มตฺตายาติ ปรมาย มตฺตาย, อติมหนฺเตเนว ปมาเณนาติ อตฺโถฯ (ที.สี.อ. ๔๐๔)
บทว่า ปรํ วิย มตฺตาย ความว่า โดยประมาณอย่างยิ่ง คือโดยประมาณใหญ่มาก. 

ปรนฺติ อติสยตฺเถ นิปาโตฯ วิยาติ ปทปูรณมตฺเต ยถา ตํ ‘‘อติวิยา’’ติฯ (สี.ฎี.๒/๔๐๔)
บทว่า ปรํ เป็นนิบาตใช้ความหมายว่า อติสย = อย่างยิ่ง. บทว่า วิย เป็นนิบาตใช้เพียงทำให้บทเต็ม เหมือนกับบทว่า  อติวิย แปลว่า อย่างยิ่ง

ขออนุโมทนา
สมภพ สงวนพานิช

-----
นิรุตติทีปนี แปล

****

โร 
ร เป็น อาคม

นิรนฺตรํนิรตฺถกํนิราหาโรนิราพาโธนิราลโยนิรินฺธโน อคฺคินิรีหกํนิรุทกํนิรุตฺตินิรุตฺตโรนิรูมิกา นทีนิโรชํทุรติกฺกโมทุรภิสมฺภโวทุราสทา พุทฺธา[1]ทุราขฺยาโต ธมฺโม[2]ทุราคตํทุรุตฺตํ วจนํ[3]ปาตุรโหสิ[4]ปาตุรหุ[5]ปาตุรเหสุํ[6]ปาตราโสปุนเรติธีรตฺถุ[7]จตุรงฺคิกํ ฌานํ[8]จตุรารกฺขาจตุราสีติสหสฺสานิจตุริทฺธิลาโภจตุโรฆาวุทฺธิเรสา[9]ปถวีธาตุเรเวสา[10]อาโปธาตุเรเวสา[11]สพฺภิเรว สมาเสถนกฺขตฺตราชาริว ตารกานํวิชฺชุริว อพฺภกูเฏอารคฺเคริวอุสโภริว[12],

ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิรนฺตรํ,
นิ + อนฺตรํ
ไม่มีช่องว่าง
นิรตฺถกํ,
นิ + อตฺถกํ
ไม่มีประโยชน์
นิราหาโร,
นิ + อาหาโร
อดอาหาร, ขาดอาหาร
นิราพาโธ,
นิ + อาพาโธ
ไม่มีโรค
นิราลโย,
นิ + อาลโย
ไม่มีอาลัยคือตัณหา
นิรินฺธโน อคฺคิ,
นิ + อินฺธโน อคฺคิ
ไฟหมดเชื้อ
นิรีหกํ,
นิ + อีหกํ
ไม่มีความพยายาม, ไม่ขวนขวาย
นิรุทกํ,
นิ + อุทกํ
ไม่มีน้ำ
นิรุตฺติ,
นิ + อุตฺติ
นิรุตติ การออกเสียง
นิรุตฺตโร,
นิ + อุตฺตโร
ไม่มีผู้เหนือกว่า
นิรูมิกา นที,
นิ + อูมิกา นที
แม่น้ำไม่มีคลื่น
นิโรชํ,
นิ + โอชํ
ไม่มีโอชะ, ไม่มีเดช, หมดฤทธิ์, อับแสง
ทุรติกฺกโม,
ทุ + อติกฺกโม
ก้าวพ้นได้ยาก
ทุรภิสมฺภโว,
ทุ + อภิสมฺภโว
การเกิดใหม่ได้ยาก
ทุราสทา พุทฺธา
ทุ + อาสทา พุทฺธา
พระพุทธเจ้า ผู้ใครๆเอาชนะได้ยาก
ทุราขฺยาโต ธมฺโม
ทุ + อาขฺยาโต ธมฺโม
พระธรรม อันบุคคลบอกได้ยาก
ทุราคตํ,
ทุ + อาคตํ
มาได้โดยยาก
ทุรุตฺตํ วจนํ
ทุ + อุตฺตํ วจนํ
คำที่กล่าวไว้ไม่ดี
ปาตุรโหสิ
ปาตุ + อโหสิ
ปรากฏแล้ว
ปาตุรหุ
ปาตุ + อหุ
ปรากฏแล้ว
ปาตุรเหสุํ
ปาตุ + อเหสุํ
ได้ปรากฏแล้ว
ปาตราโส
ปาตุ + อาโส
อาหาร (ในเวลา) เช้า
ปุนเรติ,
ปุน + เอติ
มาอีก
ธีรตฺถุ
ธี + อตฺถุ
น่าตำหนิ
จตุรงฺคิกํ ฌานํ
จตุ + องฺคิกํ ฌานํ
ญานประกอบด้วยองค์ ๔
จตุรารกฺขา,
จตุ + อารกฺขา
ธรรมควรรักษา ๔ ประการ
จตุราสีติสหสฺสานิ,
จตุ + อสีติสหสฺสานิ
แปดหมื่นสี่พัน
จตุริทฺธิลาโภ,
จตุ + อิทฺธิลาโภ
การได้ฤทธิ์ ๔
จตุโรฆา,
จตุ + โอฆา
โอฆะ ๔
วุทฺธิเรสา
วุทฺธิ + เอสา
ความเจริญนี้
ปถวีธาตุเรเวสา
ปถวีธาตุ + เอวส
ปฐวีธาตุนี้
อาโปธาตุเรเวสา
อาโปธาตุ + เอสา
อาโปธาตุนี้
สพฺภิเรว สมาเสถ,
สพฺภิ + เอว สมาเสถ
พึงเชยชิดกับสัตบุรุษท.เท่านั้น
นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ,
นกฺขตฺตราชา + อิว ตารกานํ
เหมือนดังดาวฤกษ์ของดาวทั้งหลาย
วิชฺชุริว อพฺภกูเฏ,
วิชฺชุ + อิว อพฺภกูเฏ
เหมือนดังสายฟ้าบนยอดเมฆ
อารคฺเคริว,
อารคฺเค + อิว
เหมือน (เมล็ดผัก) บนปลายหลาว
อุสโภริว,
อุสโภ + อิว
เหมือนโคผู้


ยถริวตถริว [13] - ราคเม รสฺโสฯ 
ในตัวอย่างว่า ยถริว ฉันใดนั่นเทียว และ ตถริว ฉันนั้นนั่นเทียว มีการรัสสะ เพราะ ร อาคม. 

เอตฺถ จ ยถา ‘‘อติริว กลฺลรูปา[14]อติวิย ลาภคฺคยสคฺคปตฺโตปรํวิย มตฺตาย’’ อิจฺจาทีสุ อิววิยสทฺทา เอวตฺเถ วตฺตนฺติตถา ‘‘ยถริวตถริววรมฺหากํ ภุสามิว[15]เนตํ อชฺชตนามิว’’ อิจฺจาทีสุ อิวสทฺโท เอวตฺเถ วตฺตติฯ
อนึ่ง อิวและวิยศัพท์ มีอรรถของเอวศัพท์ ในตัวอย่างเหล่านี้ คือ
อติริว กลฺลรูปา,
ดีใจยิ่งนักนั่นเทียว

อติวิย ลาภคฺคยสคฺคปปตฺโต,
ถึงความเลิศแห่งลาภและยศอันเลิศเหลือเกินนั่นเทียว

ปรํวิย มตฺตาย
โดยประมาณใหญ่ยิ่งนั่นเทียว

ถึงในตัวอย่างเหล่านี้ อิว ก็มีอรรถของเอวศัพท์เหมือนกัน คือ
ยถริว
ฉันใดนั่นเทียว

ตถริว
ฉันนั้นนั่นเทียว

วรมฺหากํ ภุสามิว
ข้าวลีบเท่านั้น เป็นอาหารอย่างสูงสุดของเรา. (ชา.๑/๑๐๘)หรือ (ขุ.ชา.สฺยา ๒๗/๔๕๙)

เนตํ อชฺชตนามิว
นินทาและสรรเสริญนั่น ย่อมมีในวันนี้เท่านั้นก็หามิได้. (ขุ.ธ.๒๕/๒๒๗)

***************

บันทึกรูปอุทาหรณ์ที่มาในอรรถกถาฎีกา
๑. ในตัวอย่างว่า ปรํวิย มตฺตาย โดยประมาณยิ่ง นี้ ปรํวิย ปัจจุบันเขียนแยกกันเป็น ปรํ วิย มตฺตาย. วิย ในพระสูตรนี้อรรถกถาสีลขันธวรรคแก้เป็น อติมหนฺเตเนว. แต่ในฎีกาสีลขันธวรรคกล่าวว่า วิย เป็น ปทปูรณนิบาต หรือ ที่เรียกว่า นิปาตมัตต์ ส่วน ปรํ เป็นนิบาตในอรรถอติสย แปลว่า อย่างยิ่ง ดังต่อไปนี้

พฺยากเต จ ปน เม อตฺตมโน อโหสิ ปรํ วิย มตฺตายา’’ติฯ (ที.สี.๙/๔๐๔)
เมื่อเราพยากรณ์แล้วเขาปลื้มใจเหลือเกิน

ปรํ วิย มตฺตายาติ ปรมาย มตฺตายอติมหนฺเตเนว ปมาเณนาติ อตฺโถฯ (ที.สี.อ. ๔๐๔)
บทว่า ปรํ วิย มตฺตาย ความว่า โดยประมาณอย่างยิ่ง คือโดยประมาณใหญ่มาก. 

ปรนฺติ อติสยตฺเถ นิปาโตฯ วิยาติ ปทปูรณมตฺเต ยถา ตํ ‘‘อติวิยา’’ติฯ (สี.ฎี.๒/๔๐๔)
บทว่า ปรํ เป็นนิบาตใช้ความหมายว่า อติสย = อย่างยิ่ง. บทว่า วิย เป็นนิบาตใช้เพียงทำให้บทเต็ม เหมือนกับบทว่า  อติวิย แปลว่า อย่างยิ่ง

๒. ในตัวอย่างว่า วรมฺหากํ ภุสามิว ข้าวลีบเท่านั้น เป็นอาหารดีของเรา. (ชา.๑/๑๐๘) นี้ อิว ที่คำว่า ภสามิว มีอรรถเอวศัพท์ ดังอรรถกถาว่า
ภุสามิวาติ ภุสเมว อมฺหากํ วรํ อุตฺตมนฺติ อตฺโถฯ (ชา.อ. ๑/๑๐๘)
บทว่า ภุสามิว หมายถึง ข้าวลีบเท่านั้น เป็นอาหารอย่างสูงสุดของเรา.

๓. ในตัวอย่างว่า เนตํ อชฺชตนามิว นินทาและสรรเสริญนั่น ย่อมมีในวันนี้เท่านั้นก็หามิได้. (ขุ.ธ.๒๕/๒๒๗) อิว ในคำว่า อชฺชตนามิว อรรถกถาว่า มีอรรถของ วิยศัพท์ ดังนี้
เนตํ อชฺชตนามิวาติ อิทํ นินฺทนํ วา ปสํสนํ วา อชฺชตนํ อธุนา อุปฺปนฺนํ วิย น โหติฯ (ธ.ป.อ.๒๒๗ อตุลอุปาสกวตฺถุ)
สองบทว่า เนตํ อชฺชตนามิว นี้ ความว่า การนินทา นี้ ก็ดี การสรรเสริญ นี้ ก็ดี ย่อมเป็นเหมือนกับเกิดขึ้นในวันนี้ คือ ในบัดนี้


     ๔. จตุรารกฺขา กัมมัฏฐาน ๔ ที่ควรรักษาไม่ให้เสื่อม ได้แก่ เมตตา พุทธานุสสติ อสุภ และ มรณัสสติ (สารัตถทีปนีฎีกา ๓/๔๐๒)


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น