ลง ม เป็นอาคม
ตัวอย่าง
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
ลหุเมสฺสติ
|
ลหุ + เอสฺสติ
|
จักถึง ช้า
|
ครุเมสฺสติ,
|
ครุ + เอสฺสติ
|
จักถึง เร็ว
|
มคฺคมตฺถิ
|
มคฺโค + อตฺถิ
|
หนทาง มีอยู่
|
อคฺคมกฺขายติ
|
อคฺโค + อกฺขายติ
|
อันเรา ย่อมกล่าวว่าเป็นเลิศ
|
อุรคามิว
|
อุรคา + อิว
|
เหมือนงู
|
อรหตามิว อิจฺจาทีนิฯ
|
อรหตา + อิว
|
ดังพระอรหันต์
|
ตถา เกน
เต อิธ มิชฺฌติ[6], รูปานิ มนุปสฺสติ[7], อากาเส มภิปูชเย, อญฺญมญฺญสฺส[8], เอกเมกสฺส[9], สมณมจโล, อทุกฺขมสุขา เวทนา[10] อิจฺจาทิฯ
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
เกน เต อิธ มิชฺฌติ
|
เกน เต อิธ + อิชฺฌติ
|
ย่อมสำเร็จแก่ท่านในวิมานนี้
เพราะบุญอะไร
|
รูปานิ มนุปสฺสติ
|
รูปานิ + อนุปสฺสติ
|
ย่อมเห็นรูปท. (ด้วยจักขุปสาทรูปใด)
|
อากาเสมภิปูชเย,
|
อากาเส + อภิปูชเย
|
พึงบูชาในอากาศ
|
อญฺญมญฺญสฺส
|
อญฺญ + อญฺญสฺส
|
ต่อกันและกัน
|
เอกเมกสฺส
|
เอก + เอกสฺส
|
แก่คนหนึ่งๆ
|
สมณมจโล,
|
สมณ + อจโล
|
สมณะผู้ไม่หวั่นไหว
|
อทุกฺขมสุขา เวทนา
|
อทุกฺข + อสุขา เวทนา
|
อทุกขมสุขเวทนา
|
*****
ศึกษาบาฬีไวยากรณ์กับคัมภีร์นิรุตติทีปนี
ครั้งที่
๘๖ : พยัญชนอาคม : การลง ม อาคม
การลง ม อาคม
ในคัมภีร์นิรุตติทีปนี แสดงตัวอย่างการลง ม อาคมไว้ด้วยอุทาหรณ์เหล่านี้
ลหุเมสฺสติ = จักถึง ช้า
ลหุ
+ เอสฺสติ
ครุเมสฺสติ = จักถึง เร็ว
ครุ
+ เอสฺสติ
มคฺคมตฺถิ = หนทาง มีอยู่
มคฺโค
+ อตฺถิ
อคฺคมกฺขายติ = อันเรา ย่อมกล่าวว่าเป็นเลิศ
อคฺโค
+ อกฺขายติ
อุรคามิว = เหมือนงู
อุรคา
+ อิว
อรหตามิว = ดังพระอรหันต์
อรหตา
+ อิว
เกน
เต อิธ มิชฺฌติ = ย่อมสำเร็จแก่ท่านในวิมานนี้
เพราะบุญอะไร
เกน
เต อิธ + อิชฺฌติ
รูปานิ
มนุปสฺสติ = ย่อมเห็นรูปท. (ด้วยจักขุปสาทรูปใด)
รูปานิ
+ อนุปสฺสติ
อากาเส
มภิปูชเย =
พึงบูชาในอากาศ
อากาเส
+ อภิปูชเย
อญฺญมญฺญสฺส
= ต่อกันและกัน
อญฺญ
+ อญฺญสฺส
เอกเมกสฺส = แก่คนหนึ่งๆ
เอก
+ เอกสฺส
สมณมจโล = สมณะผู้ไม่หวั่นไหว
สมณ
+ อจโล
อทุกฺขมสุขา เวทนา = อทุกขมสุขเวทนา
อทุกฺข
+ อสุขา เวทนา
การลง ม อาคม ก็มีตัวอย่างเท่าที่ท่านได้แสดงไว้ในคัมภีร์นิรุตติทีปนีก็มีเพียงเท่านี้
ซึ่งผู้สนใจในการศึกษาภาษาบาฬี
จะได้สังเกตเพื่อแนวทางศึกษาพระไตรปิฎกและอรรถกถาฎีกาสืบไป
ขออนุโมทนา
สมภพ สงวนพานิช
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น