วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๓๐. แปลง เอ เป็น ยฺ และ โอ เป้น วฺ

๓๘. เอโอนํ[1]
สเร ปเร เอ, โอนํ ย, วาเทโส โหติ วาฯ
กฺยสฺส พฺยปถโย อสฺสุ.  กฺยสฺสุ อิธ โคจรา[2] - เก+อสฺส ปุคฺคลสฺสาติ อตฺโถ, พฺยปถโยติ วจนปถา, ยถา นามํ ตถา ฌสฺส-เจ+อสฺสาติ เฉโท, ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ[3], ตฺยสฺส ปหีนา โหนฺติ, ปุตฺโต ตฺยาหํ มหาราช[4], ปพฺพตฺยาหํ คนฺธมาทเน, อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม[5], ยฺยสฺส วิปฺปฏิสารชา, ยฺยสฺส เต โหนฺติ อนตฺถกามา, ยฺยสฺสุ มญฺญามิ สมเณ-เอตฺถ จ อวิสิฏฺเฐปิ วจนสทฺเท เย+อสฺสาติ ปทจฺเฉทพุทฺธิสุขตฺถํ  ยฺยสฺสาติ โปตฺถกาโรปนํ ยุชฺชติเยว, ยถา ตํ? ‘ยทาสฺส สีลํ ปญฺญญฺจ[6]อิจฺจาทีสุ วิย, กฺวตฺโถสิ ชีวิเตน    เม, ยาวตกฺวสฺส กาโย, ตาวตกฺวสฺส พฺยาโม[7], อถ ขฺวสฺส, อตฺถิ ขฺเวตํ พฺราหฺมณ, ยตฺวาธิกรณํ[8], ยฺวาหํ,  สฺวาหํ อิจฺจาทิฯ
วาตฺเวว? โส อหํ วิจริสฺสามิ[9], โส อหํ ภนฺเตฯ

-------

๓๘. เอโอนํ
ย และ วฺ เป็นอาเทสของ เอ และ โอ เพราะสระหลัง

สเร ปเร เอ, โอนํ ย, วาเทโส โหติ วาฯ
ในเพราะสระหลัง ยและวฺ เป็นอาเทสของเอ และ โอ ได้บ้าง

กฺยสฺส พฺยปถโย อสฺสุ,  กฺยสฺสุ อิธ โคจรา[10] = เก อสฺส พฺยปถโย อสฺสุ, เก อสฺสุ อิธ โคจรา. 
- เก+อสฺส ปุคฺคลสฺสาติ อตฺโถ, พฺยปถโยติ วจนปถา,
กฺยสฺส คือ เก อสฺส ปุคฺคลสฺส แปลว่า คำพูดเหล่าใด ของบุคคลนั้น.  คำว่า พฺยปถโย ความหมายเดียวกับ วจนปถา แปลว่า คำพูด.

ยถา นามํ ตถา ฌสฺส = ยถา นามํ ตถา เจ อสฺส[11]
ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ = เต อหํ เอวํ วเทยฺยํ.
ตฺยสฺส ปหีนา โหนฺติ= เต อสฺส ปหีนา โหนฺติ
ปุตฺโต ตฺยาหํ มหาราช = ปุตฺโต เต อหํ มหาราช
ปพฺพตฺยาหํ คนฺธมาทเน = ปพฺพเต อหํ คนฺธมาทเน
อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม = อธิคโต โข เม อยํ ธมฺโม
ยฺยสฺส วิปฺปฏิสารชา = เย อสฺส วิปฺปฏิสารชา
ยฺยสฺส เต โหนฺติ อนตฺถกามา = เย อสฺส เต โหนฺติ อนตฺถกามา
ยฺยสฺสุ มญฺญามิ สมเณ = เย อสฺสุ มญฺญามิ สมเณ

เอตฺถ จ อวิสิฏฺเฐปิ วจนสทฺเท เย+อสฺสาติ ปทจฺเฉทพุทฺธิสุขตฺถํ ยฺยสฺสาติ โปตฺถกาโรปนํ ยุชฺชติเยว, ยถา ตํ? ‘ยทาสฺส สีลํ ปญฺญญฺจอิจฺจาทีสุ วิย,
สำหรับในกรณีนี้ แม้ในศัพท์ที่มีพจน์ไม่ต่างกัน การที่ยกมาแสดงไว้ในตำราว่า ยฺยสฺส เพื่อง่ายต่อการทำความเข้าใจในการตัดบทเป็น เย อสฺส ก็ควรอยู่, ตัวอย่างเช่น ยทาสฺส สีลํ ปญฺญญฺจ.[12]  
กฺวตฺโถสิ ชีวิเตน เม  = โก อตฺโถสิ ชีวิเตน เม
ยาวตกฺวสฺส กาโย =ยาวตโก อสฺส กาโย
ตาวตกฺวสฺส พฺยาโม = ตาวตโก อสฺส พฺยาโม
อถ ขฺวสฺส, =อถ โข อสฺส
อตฺถิ ขฺเวตํ พฺราหฺมณ, =อตฺถิ โข เอตํ พฺราหฺมณ
ยตฺวาธิกรณํ = ยโต อธิกรณํ
ยฺวาหํ = โย อหํ
สฺวาหํ= โส อหํ

วาตฺเวว?
ข้าพเจ้ากล่าว วา ศัพท์ เพื่อปฏิเสธการเป็น เอ และ โอ ใน ๒ ตัวอย่างนี้
โส อหํ วิจริสฺสามิ = โส อหํ วิจริสฺสามิ
โส อหํ ภนฺเต = โส อหํ ภนฺเต

------



[1] [ก. ๑๗, ๑๘; รู. ๑๙, ๒๐; นี. ๔๓, ๔๔]
[2] [สุ. นิ. ๙๖๗]
[3] [ม. นิ. ๑.๓๐]
[4] [ชา. ๑.๑.๗]
[5] [มหาว. ๗
[6] [ชา. ๒.๒๒.๑๔๗๔]
[7] [ที. นิ. ๒.๓๕]
[8] [ที. นิ. ๑.๒๑๓
[9] สุ. นิ. ๑๙๔
[10] อุ.ว่า กฺยสฺส พฺยปถโย อสฺสุ และ กฺยสฺสุ อิธ โคจรา ทั้งสองนี้ อยู่ในคาถาเดียวกัน ปรากฏในคัมภีร์พระบาฬีสุตตนิบาต. สุตตนิบาตอรรถกถาแก้เป็น กฺยาสฺส พฺยปฺปถโย อสฺสูติ กีทิสานิ ตสฺส วจนานิ อสฺสุฯ คำพูดเช่นไรจะมีแก่ภิกษุเหล่านี้ อยู่. แต่พระบาฬีนั้น บาทคาถาที่ ๒ เป็น กฺยาสฺสสฺสุ อิธ โคจรากานิ สีลพฺพตานาสฺสุ, ปหิตตฺตสฺส ภิกฺขุโนฯ  แปลว่า โคจรเช่นไรเล่า พึงมีแก่ภิกษุนั้นในพระศาสนานี้. ศีลและพรตเหล่าใดจะพึงมีแก่ภิกษุผู้ส่งจิตไป (ยังพระนิพพาน) แล้ว. ตามพระบาฬีนี้ตัดบทเป็น เก อสฺส (ปุคฺคลสฺส) อสฺส
[11] กรณีนี้ เจ อสฺส. แปลง เอ เป็น ยฺ ด้วยสูตรนี้ เป็น จฺยฺ อสฺส เพราะ อ แปลง จฺยฺ เป็น ฌฺ. นี้ว่าตามที่แกะรอยตามรูปศัพท์ได้ แต่หาสูตรรับรองไม่ได้ จึงได้แต่ตั้งข้อสังเกตไว้.
[12] ข้อความนี้ไม่เข้าใจว่า ท่านหมายถึงอะไร? หรือจะหมายความว่า ในศัพท์อื่นที่ลักษณะคล้ายคลึงกัน อาจใช้วิธีนี้แสดงการตัดบทได้ เช่น ยทาสฺส ตัดเป็น ยทา อสฺส. ในอรรถกถามหานิบาตชาดก ๒/๑๔๗๖ แสดงการตัดบทเป็น ยทาสฺส สีลนฺติ ยทา อสฺส เสวกสฺส ราชา สีลญฺจ ปญฺญญฺจ โสเจยฺยญฺจ อธิคจฺฉติ. อุทาหรณ์นี้ในพระบาฬีเป็น ยฺยาสฺส ยฺยาสฺสุ. แม้ในปทรูปสิทธิ ก็เป็น ยฺยาสฺส = เย + อสฺส (ธรรมเหล่าใดอันบุคคลนั้นละแล้ว). หนังสือปท.มัญชรี ให้ทัสสนะว่า “สัททนีติปกรณ์ (สุตตมาลา สูตร ๔๓) กล่าวว่า รูปว่า ยฺยสฺส (อาจเขียนเป็น ยฺยาสฺส ตามรูปที่ปรากฏในฉบับปัจจุบัน) ไม่มีในพระบาลี เพราะ ยฺย สังโยคไม่ปรากฏในรูปว่า ยฺยสฺส แต่พบเป็นรูปว่า ยสฺส =เย + อสฺส, ยสฺสุ = เย + อสฺสุ, ยาภิวาทนฺติ = เย + อภิวาทนฺติ อย่างไรก็ดี ในอังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (องฺ.๒๐.๙๒.๒๓๓) มีรูปว่า ยฺยสฺส ที่ตัดบทมาจาก เย + อสฺส (ฉบับฉัฏฐสังคายนามีรูปเป็น ยฺยาสฺส)]


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น