วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๒๗. สราเทสสนธิ เชื่อมบทโดยการแปลงอักษร

อาเทสสนฺธิ
อถาเทสสนฺธิ ทีปิยเตฯ
๓๗. ยวา สเร[1]
สเร ปเร อิวณฺณุวณฺณานํ ย, วาเทสา โหนฺติ วาฯ
อิวณฺเณ
ปฏิสนฺถารวุตฺยสฺส[2], สพฺพา วิตฺยานุภูยเต, กฺยาหํ อปรชฺฌามิ [3]อิธ ปฐมํ พินฺทุโลโป, สุตา จ   ปณฺฑิตาตฺยตฺถ, สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยมฺหา[4], ญาโต เสนาปตีตฺยาหํ[5], อิจฺเจตํ กุสลํ[6], อิจฺจสฺส วจนียํ[7], ปจฺจุตฺตริตฺวา, ปจฺจาหรติ[8], ปจฺเจติ, ปจฺจโย, อจฺเจติ, อจฺจโย[9], อจฺจายํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ [10]อติเรโก อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑตฺยตฺโถ, อปุจฺจณฺฑตา อปุติอณฺฑตาตฺยตฺโถ, ชจฺจนฺโธ, ชจฺจฆานโก, ชจฺเจฬโก, อพฺภุคฺคจฺฉติ, อพฺเภติ, อพฺโภกาโส[11], อชฺโฌกาโส อชฺฌาคมา อิจฺจาทิฯ
วาตฺเวว? อิติสฺส มุหุตฺตมฺปิ[12], อติสิคโณ, อธีริตํฯ
เอตฺถ จ อิจฺเจตนฺติอาทีสุ อิมินา สุตฺเตน อิติ, ปติ, อติปุติ, ชาติ, อภิ, อธิสทฺทานํ อิวณฺณสฺส ยตฺตํ, ‘ตวคฺค, วรณาน’…นฺติ สุตฺเตน ยมฺหิ ตวคฺคสฺส จตฺตํ, ‘วคฺค, , เสหิ เตติ สุตฺเตน ยสฺส ปุพฺพรูปตฺตํ, อภิ, อธิสทฺเทสุ ปน จตุตฺถทุติเยสฺเวส’…นฺติ สุตฺเตน วคฺคจตุตฺถานํ ตติยตฺตํฯ
อุวณฺเณ
จกฺขฺวาพาธมาคจฺฉติ, ปาตฺวากาสิ[13], วตฺถฺเวตฺถ วิหิตํ นิจฺจํ, ทฺวากาโร[14], มธฺวาสโว[15], อนฺวโย,              อนฺเวติ, สฺวากฺขาโต[16], สฺวากาโร[17], พหฺวาพาโธ อิจฺจาทิฯ

---------

อาเทสสนฺธิ
วิธีเชื่อมบทโดยแปลงอักษร
อถาเทสสนฺธิ ทีปิยเตฯ
ต่อจากวุทธิสนธิ จะแสดงอาเทสสนธิ คือ วิธีเข้าสนธิโดยอาเทส คือ แปลงอักษร

๓๗. ยวา สเร
เพราะมีสระข้างหลัง ยฺ และวฺ เป็นอาเทสของ อิวัณณะและอุวัณณะ ในบางแห่ง
สเร ปเร อิวณฺณุวณฺณานํ ย, วาเทสา โหนฺติ วาฯ
อิวัณณะ และ อุวัณณะ ย่อมเป็น ยฺ และ วฺ (ตามลำดับ) ในเพราะสระหลัง ได้บ้าง[18]

อิวณฺเณ
๑)    อิวัณณะที่ถูกแปลงเป็น ยฺ ตัวอย่างเช่น
ปฏิสนฺถารวุตฺยสฺส =  ปฏิสนฺถารวุตฺติ + อสฺส
สพฺพา วิตฺยานุภูยเต =  สพฺพา วิตฺติ + อนุภูยเต
กฺยาหํ อปรชฺฌามิ กึ + อหํ อปรชฺฌามิ[19]
สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยตฺถ =  สุตา จ ปณฺฑิตาติ อตฺถ
สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยมฺหา =  สุตา จ ปณฺฑิตาติ อมฺหา
ญาโต เสนาปตีตฺยาหํ =  ญาโต เสนาปติ อิติ อหํ
อิจฺเจตํ กุสลํ = อิติ เอตํ กุสลํ
อิจฺจสฺส วจนียํ = อิติ อสฺส วจนียํ  
ปจฺจุตฺตริตฺวา = ปติ อุตฺตริตฺวา
ปจฺจาหรติ = ปติ อาหรติ
ปจฺเจติ = ปติ เอติ
ปจฺจโย = ปติ อิโย
อจฺเจติ = อติ เอติ
อจฺจโย =  อติ + อิ (ธาตุ) อ (ปัจจัย)

อจฺจายํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ = อติ + อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ.
อติเรโก  อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑตฺยตฺโถ
ในอุ.นี้ อติ = อติเรโก  ส่วนเกิน  ความหมายว่า ท่อนกลางนี้เป็นส่วนเกิน[20]
อปุจฺจณฺฑตา =   อปุติ+อณฺฑตา
อปุติ+อณฺฑตาตฺยตฺโถ, ความหมายว่า ความไม่เป็นไข่เน่า.[21]
ชจฺจนฺโธ =  ชาติ อนฺโธ
ชจฺจฆานโก =  ชาติ อฆานโก
ชจฺเจฬโก =  ชาติ เอฬโก
อพฺภุคฺคจฺฉติ  = อภิ อุคฺคจฺฉติ
อพฺเภติ = อภิ เอติ
อพฺโภกาโส = อภิ โอกาโส
อชฺโฌกาโส = อธิ โอกาโส  
อชฺฌาคมา =  อธิ อาคมา

วาตฺเวว?
ข้าพเจ้ากล่าว วา ศัพท์ในสูตรนี้ไว้เพื่อห้ามอาเทศอิวัณณะเป็น ยฺ ในอุทาหรณ์เหล่านี้ คือ

อิติสฺส มุหุตฺตมฺปิ = อิติสฺส มุหุตฺตมฺปิ
อติสิคโณ = อติสิคโณ
อธีริตํ = อธีริตํ.



[1] [ก. ๑๘, ๑๙, ๒๑, ๔๕; นี. ๔๔, ๔๖, ๔๗, ๕๑, ๕๘]
[2] [ธ. ป. ๓๗๖]
[3]  [ปารา. ๓๘๓]
[4] [ชา. ๒.๒๑.๑๔๙]
[5] [ชา. ๒.๒๑.๙๔]
[6] [ปารา. ๔๑๑]
[7] [ทีฆนิกาเย]
[8] [ปารา. ๓๐๕-๓๐๗]
[9] [ที. นิ. ๑.๒๕๑]
[10] [ชา. ๑.๗.๓๓]
[11] [ที. นิ. ๑.๑๙๑]
[12] [ปาจิ. ๔๖๕]
[13] [ม. นิ. ๒.๓๐๘]
[14] [มหาว. ๙]
[15] [ปาจิ. ๓๒๘]
[16] [มหาว. ๒๖, ๖๒]
[17] [มหาว. ๙]
[18] วุตติ จำต้องคงประโยคบาลีไว้ เพื่อให้เห็นแนวทางการแปลตัวสูตร.
[19] (สำหรับอุทาหรณ์นี้ ลบนิคคหิต (ที่ กึ) ก่อนจึงแปลง อิ เป็น ย)
[20] ทัพภปุปผชาดกอัฏฐกถา อธิบายคำว่า อจฺจายํ ว่า อจฺจายํ มชฺฌิโม ขณฺโฑติ อปิจ อยํ มชฺฌิโม โกฏฺฐาโสฯ อถ วา  อจฺจาติ อติจฺจ, อิเม ทฺเว โกฏฺฐาเส อติกฺกมิตฺวา ฐิโต อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ ธมฺมฏฺฐสฺส วินิจฺฉยสามิกสฺส มยฺหํ ภวิสฺสตีติฯ ดังนั้น อจฺจายํ มาจาก อติ = อติกฺกมิตฺวา (บางแห่งเป็น อติ อิ ตฺวา) ก้าวล่วง หรือ เกิน + อยํ. ความหมายทั้งหมด ดังที่พระคันถรจนาจารย์อธิบายไว้อติเรโก อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑตฺยตฺโถ,
[21] อปุติอณฺฑตา [ อ+ปุติ+อณฺฑ+ตา ] ความไม่เป็นไข่เน่า เป็นสำนวนพูด หมายถึง สภาวะปกติความปกติสุขการกำเนิดโดยไม่มีโรคภัยไข้เจ็บความสมบูรณ์หรือมั่นคง  ม.1/357. ในที่นี้เป็น อปุติ .. ที่จริงน่าจะเป็น อปูติ ... 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น