๔๒. โคสฺสาวง [1]ฯ
สเร ปเร โคสฺส
อนฺตสฺส อวง โหติฯ
โค จ อสฺโส จ
ควาสฺสํฯ
อปฺปวิธานมุจฺจเตฯ
มหาวุตฺตินา
อวณฺณสฺส อุตฺตํ,
โอตฺตญฺจ –
ปุถุชฺชโน, ปุถุภูโต-ปุถูติ วา เอโก ปาฏิปทิโก, ปุถุนา ปุถุนีติปิ
ทิสฺสติ, อเปกฺขิยาโน อเปกฺขิยาน อเปกฺขิตฺวาตฺยตฺโถฯ เอวํ
อนุโมทิยาโน, มรีจิกูปมํ อภิสมฺพุทฺธาโน, มา มํ ปิสาจา ขาทนฺตุ, ชีว ตฺวํ สรโทสตํ[3], รตฺติทิโวว โส ทิพฺโพ, มานุสํ สรโทสตํ-วสฺสสตนฺตฺยตฺโถ,
อนุยนฺติ ทิโสทิสํ[4], สมฺปตนฺติ ทิโสทิสํ - ตํ ตํ ทิสนฺตฺยตฺโถ, ปโรสตํ, ปโรสหสฺสํ,
อญฺโญญฺญํ อญฺญมญฺญํ,
โปโนปุญฺญํ ปุนปฺปุนํ,
โปโนพฺภวิกา
ตณฺหา-ปุโนติ วา เอโก นิปาโต, ปุโน ตสฺส มเห สิโน, ปุโน ปตฺตํ คเหตฺวาน, น จ ทานิ ปุโน อตฺถิ, มม
ตุยฺหญฺจ สงฺคโม, น ปุโน อมตาการํ, ปสฺสิสฺสามิ
มุขํ ตว [5]ฯ
-----------------------
๑๘. แปลง
โอ ของ โคศัพท์ เป็น อว
ทำได้ในสองกรณีคือ
บทข้างหลังเป็นสระ และ บทข้างหลังเป็นพยัญชนะ
-----
๑.
บทหลังเป็นสระ ด้วยสูตรนี้
๔๒. โคสฺสาวงฯ
เพราะสระข้างหลัง
แปลง สระที่สุด คือ โอ แห่งโคศัพท์ เป็น อว
เช่น
โค + อสฺโส = โค > คว + อสฺสํ = ควาสฺสํ
[6]
-------
๒.
บทหลังเป็นพยัญชนะ ได้โดยอ้อม คือ แบ่งสูตรไม่ให้บทว่า สเร ตามมาจากสูตร ยวา สเร
ดังนั้น ถึงจะมีพยัญชนะข้างหลัง โอ ของ โค ก็แปลงเป็น อว [7] เช่น
สโคจณฺโฑ = สควจณฺโฑ โคที่ข่มเหงฝูงโคของตน[8]
ปรโคจณฺโฑ = ปรควจนฺโฑ
โคที่สงบเสงี่ยมต่อฝูงโคอื่น
(อ่านพระบาฬีพลีพทฺทสุตฺตํ
๑๐๘. ในอัง.จตุกะ. และอรรถกถาฎีกาประกอบ)
*********
[1] [ก. ๒๒, ๗๘; รู. ๒๘; นี. ๕๒, ๒๒๙]
[2] [อ. นิ. ๔.๑๐๘]
[3] [ชา. ๑.๒.๙]
[4] [ที. นิ. ๓.๒๘๑]
[5] [อป. เถรี ๒.๒.๒๓๕]
[6] รูปนี้เป็นสมาหารทวันทสมาส จึงเป็น ควาสฺสํ. โอ ที่ โค เป็น อว
[7] (แม้ สเร ตามมาจากสูตร ยวา สเร แต่การตัดแบ่งสูตรโดยไม่เอาตัวตามมา
โดยไม่จำต้องมีสระเป็นนิมิต จึงแปลง โอ ของ โค เป็น อว เพราะพยัญชนะได้เช่นกัน)
[8] อ่านพระบาฬีพลีพทฺทสุตฺตํ ๑๐๘. ในอัง.จตุกะ. และอรรถกถาฎีกาประกอบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น