วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๒๓ เมื่อลบสระหลัง ทีฆะสระหน้า

ปรลุตฺเต
อชิตาติ ภควา อโวจ [สุ. นิ. ๑๐๓๙, ๑๐๔๑], สุเมโธ สาชาโต จาติ, รุปฺปตีติ รูปํ [สํ. นิ. ๓.๗๙], พุชฺฌตีติ พุทฺโธ, สาธูติปติสฺสุณิตฺวา [ธ. ป. อฏฺฐ. ๑.๔ กาฬยกฺขินีวตฺถุ], กิํสูธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฺฐํ [สุ. นิ. ๑๘๔] อิจฺจาทิฯ
๒) เมื่อสระหลังถูกลบ สระหน้า อันเป็นรัสสะที่เหลือ เป็นทีฆสระ
อชิตาติ ภควา อโวจ = อชิต + อิติ ภควา อโวจ.
สุเมโธ สาชาโต จาติ = สุเมโธ สาชาโต จ อิติ
รุปฺปตีติ รูปํ = รุปฺปติ + อิติ รูปํ
สาธูติ ปติสฺสุณิตฺวา = สาธุ อิติ ปติสฺสุนิตฺวา.
กึสูธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฺฐํ = กึสุ + อิธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฺฐํ.
สาระที่ได้จากการศึกษา
โปรดสังเกต :

ทุกตัวอย่าง จะลบสระหลัง และ ทีฆสระหน้า ซึ่งเป็นรัสสะ 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น