วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๑๘. การลบนิคคหิต

(การลบนิคคหิต)
๓๑. โลโป
นิคฺคหีตสฺส กฺวจิ โลโป โหติ วาฯ
๓๑. โลโป
นิคคหิตถูกลบไปได้บ้าง
ในบางแห่ง นิคคหิตถูกลบบ้าง ไม่ถูกลบบ้าง

สเร ปเร ตาว
เอวาหํ จินฺตยิตฺวาน [พุ. วํ. ๒.๒๗], ปุปฺผทานํ อทาสหํ-อทาสิํ+อหนฺติ เฉโท, พินฺทุโลโป, ปุน ปุพฺพสรโลโป, ตุยฺหตฺถาย มหามุนิ, ตุยฺเหเวตํ ทุกฺกฏํ [ที. นิ. ๒.๑๗๘], ตาสาหํ สนฺติเก [ปาจิ. ๗๐๙], เตสาหํ เอวํ วทามิ, ปญฺจนฺเนตํ ธมฺมานํ อธิวจนํ, ฉนฺเนตํ ธมฺมานํ อธิวจนํ, สมณ ตฺเวว ปุจฺฉามิ [ชา. ๒.๒๒.๒๕๓ สมณ เตว], พฺราหฺมณ ตฺเวว ปุจฺฉามิ [ชา. ๒.๒๒.๒๕๘ พฺราหฺมณ เตว] -ตฺวํ+เอวาติ เฉโท, วิทูนคฺคมิติฯ
ลำดับแรกจะกล่าวถึงการลบนิคหิตที่อยู่ติดกับสระหลังก่อน.
เอวํ + อหํ = เอวาหํ. เอวาหํ  จินฺตยิตฺวาน
อทาสึ + อหํ = อทาสหํ.  อทาปุปฺผทานํ อทาสหํ. รูปนี้ตัดบทเป็น อทาสึ อหํ, ลบนิคคหิต (ด้วยสูตรนี้), ลบสระหน้า ซ้ำอีก.
ตุยฺหํ + อตฺถาย = ตุยฺหตฺถาย. ตุยฺหตฺถาย มหามุนิ
ตุยฺหํ เอว = ตุยฺเหว. ตุยฺเหเวตํ ทุกฺกฏํ.
ตาสํ อหํ = ตาสาหํ. ตาสาหํ สนฺติเก.
เตสํ อหํ = เตสาหํ. เตสาหํ เอวํ วทามิ.
ปญฺจนฺนํ เอตํ = ปญฺจนฺเนตํ. ปญฺจนฺเนตํ ธมฺมานํ อธิวจนํ.
ฉนฺนํ เอตํ = ฉนฺเนตํ. ฉนฺเนตํ ธมฺมานํ อธิวจนํ.
ตฺวํ เอว = เตฺวว. สมณ เตฺวว ปุจฺฉามิ, และ พฺราหฺมณ เตฺวว ปุจฺฉามิ. รูปนี้ตัดบทเป็น ตฺวํ + เอว.
วิทูนํ อคฺคํ = วิทูนคฺคํ. วิทูนคฺคมิติ.

พฺยญฺชเน ปเร
ตํ ตุยฺหมูเล ปฏิเทเสมิฯ
ที่อยู่ติดกับพยัญชนะหลัง
ตุยฺหํ มูเล = ตุยฺหมูเล. ตํ ตุยฺหมูเล ปฏิเทเสมิ.

คาถายํ
อริยสจฺจานทสฺสนํ [ขุ. ปา. ๕.๑๑], เอตํ พุทฺธาน สาสนํ [ธ. ป. ๑๘๓], ขนฺธานญฺจ ปฏิปาฏิ, ธาตุอายตนาน จ [ธ. ส. อฏฺฐ. นิทานกถา]ฯ
ในคาถาก็ลบได้
อริยสจฺจานํ ทสฺสนํ = อริยสจฺจานทสฺสนํ.

‘‘ตโป จ พฺรหฺมจริยญฺจ, อริยสจฺจาน ทสฺสนํ;
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ, เอตํ มงฺคลมุตฺตมํฯ

พุทฺธานํ สาสนํ = พุทฺธานสาสนํ
สพฺพปาปสฺส อกรณํ, กุสลสฺส อุปสมฺปทา;
สจิตฺตปริโยทปนํ, เอตํ พุทฺธานสาสนํฯ

ธาตุอายตนานํ จ = ธาตุอายตนาน จ
ขนฺธานญฺจ ปฏิปาฏิ, ธาตุอายตนาน จ;
อพฺโพจฺฉินฺนํ วตฺตมานา, สํสาโรติ ปวุจฺจตีติฯ

มาคเม ปเร
ครุโฬ อุรคามิว [ชา. ๑.๔.๑๒๔ สุปณฺโณ], ธมฺโม อรหตามิว [ที. นิ. ๒.๓๔๘], อาโลโก ปสฺสตามิว [สุ. นิ. ๗๖๙], พโก กกฺกฏกามิว [ชา. ๑.๑.๓๘], นภํ ตารกิตามิว [ชา. ๒.๒๒.๑๙๘๙ ตาราจิตามิว], ปทุมํ หตฺถคตามิว [ชา. ๒.๒๒.๒๓๓๖] -เอเตสุ มาคเม พินฺทุโลโป, พฺยญฺชเน ปุพฺพสรทีโฆ จฯ
ที่ติดกับมอาคมข้างหลัง ในกรณีนี้ ลบนิคคหิตที่อยู่ติดกับมอาคม และทีฆสระหน้าที่อยู่ติดกับพยัญชนะหลัง ตัวอย่างเช่น
อุรคํ อิว = อุรคามิว. ครุโฬ อุรคามิว. (ลบนิคคหิตด้วยสูตรนี้ อุรค อิว ลงมฺ เป็นอาคม อุรค มฺ อิว, ทีฆสระหน้าที่อยู่ติดกับมฺข้างหลัง)
อรหตํ อิว = อรหตามิว. ธมฺโม อรหตามิว.
ปสฺสตํ อิว = ปสฺสตามิว. อาโลโก ปสฺสตามิว.
กกฺกฏกํ อิว = กกฺกฎกามิว. [1]พโก กกฺกฏกามิว
ตารกิตํ อิว = ตารกิตามิว. นภํ ตารกิตามิว.
หตฺถคตํ อิว = หตฺถคตามิว. ปทุมํ หตฺถคตามิว

ตถา สํอุปสคฺคสฺส พินฺทุโลเป อนฺตสรทีโฆ
สาราโค, สารตฺโต, อวิสาหาโร, สารมฺโภ, สารทฺโธ, สาเกตํ นครํ, สาธารณํ, สํ อสฺส อตฺถีติ สามีฯ
สำหรับ สํอุปสัค เมื่อลบนิคคหิตแล้ว ทีฆสระท้าย (ของสํ ที่ลบนิคคหิตไปแล้ว) ได้ด้วย
สํ ราโค = สาราโค,
สํ รตฺโต = สารตฺโต
อ วิ สํ หาโร = อวิสาหาโร,
สํ รมฺโภ = สารมฺโภ,
สํ อารทฺโธ = สารทฺโธ,
สํ เกตํ = สาเกตํ. สาเกตํ นครํ,
สํ อาธารณํ = สาธารณํ,
สํ อี = สามี. สํ อสฺส อตฺถีติ สามีฯ[2]

สมาเส ตุมนฺตมฺหิ นิจฺจํ
กตฺตุกาโม, คนฺตุกาโม อิจฺจาทิฯ
ในสมาส ลบนิคคหิตท้ายบทที่มีตุเป็นที่สุดแน่นอน
กตฺตุกาโม = กตฺตุกาโม
คนฺตุกาโม = คนฺตุกาโม.
อิติ พินฺทุโลปราสิฯ
กลุ่มอักษรคือนิคคหิตที่ถูกลบไป เป็นอย่างนี้.



[1] ในพกชาดกอรรถกถา แก้เป็น พโก กกฺกฏกามิว, ยถา พโก กกฺกฏกา คีวจฺเฉทํ ปาปุณาติ ดังนั้น รูปนี้ไม่น่าจะมีการสนธิโดยลบนิคคหิต เพราะกกฺกฎกามิว ไม่ได้ตัดบทเป็น กกฺกฏกํ อิว แต่เป็น กกฺกฎกา อิว
[2] สามี มาจาก สํ ทรัพย์ + อี (อัสสัตถิตัทธิต).  สํ = ธนํ ทรัพย์ มีวิ. ว่า สสฺส อตฺตโน อิทํ สํ สิ่งนี้มีอยู่แก่ตน ชื่อว่า สํ สิ่งของของตน ก็คือ ทรัพย์.  วิ. ทรัพย์ของผู้นี้มีอยู่ ดังนั้น ชื่อว่า สามี. ลบ นิคคหิต ด้วยสูตรนี้ สอี ลงมอาม สมฺอี ทีฆะสระที่อยู่ติดกับมฺอาคม เป็น สามี.  แต่บางแห่ง สํ+อี  แปลง นิคคหิตเป็น มฺ แล้ว ทีฆะเป็นอา (ปทวิจารทีปนี น. ๗๓๓)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น