(ลบสระหลัง)
ปุพฺพสรมฺหา
สรูโป วา อสรูโป วา ปโร สโร กฺวจิ โลโป โหติฯ
สรูเป
ตาว –
กุทาสฺสุ
นาม ทุมฺเมโธ,
ทุกฺขสฺสนฺตํ
กริสฺสติ
[ธ. ป. ๓๗๖],
ยทาสฺส
สีลํ ปญฺญญฺจ
[ชา. ๒.๒๒.๑๔๗๔],
ตทาสฺสุ
กณฺหํ ยุญฺชนฺติ
[ชา. ๑.๑.๒๙] -กณฺหนฺติ มหากณฺหโคณํ,
ตณฺหาสฺส
วิปฺปหีนา,
สตฺถหารกํ
วาสฺส ปริเยเสยฺย
[ปารา. ๑๖๗, ๑๗๑],
อาคตาตฺถ
ตุมฺเห,
โสตุกามาตฺถ
ตุมฺเห,
มายฺโย
เอวรูปมกาสิ,
ปปํ
อวินฺทุํ
[ชา. ๑.๑.๒] -ปวฑฺฒํ อาปํ ลภิํสูตฺยตฺโถ,
นาลํ
กพฬํ ปทาตเว
[ชา. ๑.๑.๒๗] -ป+อาทาตเวติ เฉโท, คณฺหิตุนฺตตฺโถ,
รุปฺปตีติ
รูปํ,
พุชฺฌตีติ
พุทฺโธ -ทีโฆ,
อคฺคีว
ตปฺปติ,
อิตฺถีว
คจฺฉติ,
นทีว
สนฺทติ,
มาตุปฏฺฐานํ,
ปิตุปฏฺฐานํ,
เยเต
ธมฺมา อาทิกลฺยาณา
[จูฬว. ๓๙๙] -อิจฺจาทิฯ
อสรูเป –
อิติสฺส [ปาจิ. ๔๖๕], อิติปิ [ปารา. ๑],
อสฺสมณีสิ [ปารา. ๑๓๕], อกตญฺญูสิ
[ธ. ป. ๓๘๓], วนฺเทหํ, โสหํ,
ยสฺสทานิ [มหาว. ๒๔๒], ฉายาว
อนปายินี [ธ. ป. ๒], มาทิเสสุ กถาว กา,
กินฺนุมาว สมณิโย มธุวา มญฺญติ พาโล [ธ. ป. ๖๙],
จกฺขุนฺทฺริยํ [วิภ. ๒๑๙], ทฺเวเม ภิกฺขเว ธมฺมา [อ. นิ. ๒.๓], ตโยเม ภิกฺขเว ธมฺมา [อ. นิ. ๓.๑๗] อิจฺจาทิฯ
กฺวจีติ
กิํ?
กตมา จานนฺท อนิจฺจสญฺญา [อ. นิ. ๑๐.๖๐]ฯ
อิติ ปรโลปราสิฯ
๒๗. ปโร กฺวจิ ฯ
สระหลังถูกลบได้
ในบางแห่ง.
หลังจากสระหน้า
สระหลัง ไม่ว่าจะมีรูปเหมือนกันก็ตาม มีรูปต่างกันก็ตาม ถูกลบไป ในบางแห่ง.
จะกล่าวถึงในที่สระหลังมีรูปเหมือนกับสระหน้าเป็นลำดับแรก
ตํ
กทาสฺสุ[1]
ภวิสฺสติ (ตํ กทา + อสฺสุ ภวิสฺสติ)
ข้อนั้นจักมีในกาลไร
(อสฺสุ เป็นเพียงนิบาตไม่ต้องแปล)
กุทาสฺสุ
นาม ทุมฺเมโธ,
(กุทา + อสฺสุ นาม ทุมฺเมโธ)
คนปัญญาน้อย จักมีในกาลไร
ทุกฺขสฺสนฺตํ
กริสฺสติ (ทุกฺขสฺส อนฺตํ กริสฺสติ)
จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
ยทาสฺส
สีลํ ปญฺญญฺจ (ยทา + อสฺส สีลํ ปญฺญญฺจ)
เมื่อใด
พระราชาทรงทราบศีล ปัญญา และความบริสุทธิ์ของราชเสวกนั้น [ชา. ๒.๒๒.๑๔๗๔],
ตทาสฺสุ
กณฺหํ ยุญฺชนฺติ (ตทา + อสฺสุ กณฺหํ ยุญฺชนฺติ) [ชา.
๑.๑.๒๙]
ในเวลานั้นแหละ ชนทั้งหลายจะเทียมโคกัณหะ
คำว่า กณฺหํ คือ
มหากณฺหโคณํ วัวดำตัวใหญ่.
ตณฺหาสฺส
วิปฺปหีนา,
(ตณฺหา + อสฺส วิปฺปหีนา)
ตัณหาของเขาถูกละได้แล้ว
มาสฺสุ กุชฺฌ
รเถสภ,
(มา + อสฺสุ กุชฺฌ รเถสภ)
ดูก่อนรเถสภะ
เธอจงอย่าโกรธ.
สตฺถหารกํ
วาสฺส ปริเยเสยฺย (สตฺถหารกํ วา + อสฺส ปริเยเสยฺย) [ปารา.
๑๖๗, ๑๗๑],
ภิกษุใด
แสวงหาศาสตรามาให้เขา ก็ตาม
อาคตาตฺถ
ตุมฺเห,
(อาคตา + อตฺถ ตุมฺเห)
พวกเธอมากันแล้ว
โสตุกามาตฺถ
ตุมฺเห,
(โสตุกามา + อตฺถ ตุมฺเห)
พวกเธอจงตั้งใจมาฟัง
มายฺโย
เอวรูปมกาสิ,
(มา + อยฺโย เอวรูปํ อกาสิ)
ขอพระคุณเจ้าอย่าทำกรรมเช่นนี้
ปปํ
อวินฺทุํ (ป+อาปํ อาปํ ลภึสุ [ชา. ๑.๑.๒] –
ในรูปนี้มีความหมายว่า
ได้บ่อน้ำกว้างใหญ่
นาลํ
กพฬํ ปทาตเว (นาลํ กพฬํ ป+อาทตเว) [ชา. ๑.๑.๒๗]
พระยาช้าง
ไม่สามารถรับเอาก้อนข้าวได้. ในรูปนี้ตัดบทเป็น ป + อาทาตเว, ความหมาย คือ คณฺหิตุ– เพื่อรับเอา
(ไม่สามารถเพื่อรับก้อนข้าว)
สองรูปนี้
มีการทีฆะ (สระหน้าหลังจากลบสระหลังแล้ว)
รุปฺปตีติ
รูปํ,
(รุปฺปติ อิติ รูปํ)
เรียกว่า รูป
เพราะย่อมเสื่อมสิ้นไป
พุชฺฌตีติ
พุทฺโธ (พุชฺฌติ อิติ พุทฺโธ)
ทรงพระนามว่า
พระพุทธเจ้า เพราะย่อมตรัสรู้
อคฺคีว
ตปฺปติ (อคฺคี อิว ตปฺปติ)
ย่อมแผดเผาเหมือนดังไฟ
อิตฺถีว
คจฺฉติ,
(อิตฺถี อิว คจฺฉติ)
ไปดังเช่นอิสตรี
นทีว
สนฺทติ,
(นที อิว สนฺทติ)
ย่อมไหลไปดุจแม่น้ำ
มาตุปฏฺฐานํ, (มาตุ + อุปฏฺฐานํ)
การบำรุงมารดา
ปิตุปฏฺฐานํ, (ปิตุ + อุปฏฺฐานํ)
การบำรุงบิดา
เยเต
ธมฺมา อาทิกลฺยาณา (เย + เอเต ธมฺมา อาทิกลฺยาณา) [จูฬว.
๓๙๙]
ธรรมเหล่านี้
อันงามในเบื้องต้น อันใด
-------------------------
ในสระหลังที่มีรูปต่างจากสระหน้า
เช่น
(อิติ + อสฺส =) อิติสฺส [ปาจิ.
๔๖๕],
(อิติ + อปิ =)
อิติปิ [ปารา. ๑],
(อสฺส มณี + อสิ =)อสฺสมณีสิ [ปารา. ๑๓๕],
(อกตญฺญู +อสิ =)อกตญฺญูสิ [ธ. ป. ๓๘๓],
(วนฺเท + อหํ =)วนฺเทหํ,
(โส + อหํ =)โสหํ,
(ยสฺส + อิทานิ =)
ยสฺสทานิ [มหาว. ๒๔๒],
(ฉายา + อิว
อนปายินี =) ฉายาว อนปายินี [ธ. ป. ๒],
(มาทิสา + เอสุ กถาว กา =) มาทิเสสุ กถาว
กา,
(กินฺนุมา + เอว
สมณิโย,
=) กินฺนุมาว สมณิโย
(มธุ + อิว
มญฺญติ พาโล
= ) มธุวา มญฺญติ พาโล [ธ. ป. ๖๙],
(จกฺขุ + อินฺทฺริยํ =) จกฺขุนฺทฺริยํ [วิภ. ๒๑๙],
(เทฺว + อิเม
ธมฺมา
=) เทฺวเม ภิกฺขเว ธมฺมา [อ. นิ. ๒.๓],
(ตโย + อิเม
ภิกฺขเว ธมฺมา
=) ตโยเม ภิกฺขเว ธมฺมา [อ. นิ. ๓.๑๗]
คำว่า ในบางแห่ง
(กฺวจิ) ข้าพเจ้ากล่าวไว้เพื่อแสดงการไม่ลบสระหลังได้ในบางอุทาหรณ์
เช่น กตมา จ อานนฺท อนิจฺจสญฺญา
(กตมา จ + อานนฺท อนิจฺจสญฺญา รูปนี้ลบสระหน้า)
***
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น