๔๐. วิติสฺเสเว วา [1]ฯ
เอวสทฺเท ปเร
อิติสทฺทสฺส อิ-การสฺส โว โหติ วาฯ
อิตฺเวว โจโร
องฺคุลิมาโล,
สมุทฺโทตฺเวว สงฺขฺยํ[2] คจฺฉติ,
มหาอุทกกฺขนฺโธตฺเวว สงฺขฺยํ คจฺฉติ, มหาสมฺมโตตฺเวว ปฐมํ
อกฺขรํ นิพฺพตฺตํ[3] , อิสิคิลิตฺเวว สมญฺญา อโหสิ[4] ฯ
วาติ กิํ? อิจฺเจวตฺโถ, สมุทฺโทเตว สงฺขฺยํ คจฺฉติฯ
สุตฺตวิภตฺเตน
เอวสทฺเท ปเร อญฺญติ-การสฺส วตฺตํฯ วิลปตฺเวว โส ทิโช[5] , อนุเสตฺเววสฺส กามราโค, อนุเสตฺเววสฺส รูปราโค –
อนุเสติ+เอว+อสฺสาติ เฉโท, โหตฺเวว การิยสนฺนิฏฺฐานํ,
โหเตว วาฯ
----------------------
๔๐. วิติสฺเสเว วา
เพราะ เอว
ข้างหลัง อิ ของ อิติ ศัพท์ เป็น วฺ ได้บ้าง.
เอวสทฺเท ปเร
อิติสทฺทสฺส อิ-การสฺส โว โหติ วาฯ
ในเพราะเอวศัพท์อันเป็นเบื้องหล้ง
อิอักษร ของ อิติศัพท์ เป็น โว ได้บ้าง.
อิเตฺวว โจโร
องฺคุลิมาโล
= อิติ เอว โจโร องฺคุลิมาโล
สมุทฺโทตฺเวว
คจฺฉติ =
สมุทฺโท อิติ เอว คจฺฉติ
มหาอุทกกฺขนฺโธตฺเวว
สงฺขฺยํ คจฺฉติ = มหาอุทกกฺขนฺโธ อิติ เอว สงฺขฺยํ คจฺฉติ
มหาสมฺมโตตฺเวว
ปฐมํ อกฺขรํ นิพฺพตฺตํ = มหาสมฺมโต อิติ เอว ปฐมํ อกฺขรํ นิพฺพตฺตํ
อิสิคิลิตฺเวว
สมญฺญา อโหสิ =
อิสิคิลิ อิติ เอว สมญฺญา อโหสิ[6]
วาติ กิํ?
ข้าพเจ้ากล่าววาศัพท์ไว้ในสูตรนี้เพื่อการไม่เป็น
วฺ แห่งอิ ของ อิติ ก็มี ในอุทาหรณ์ว่า
อิจฺเจวตฺโถ = อิติ เอว อตฺโถ
สมุทฺโทเตว
สงฺขยํ คจฺฉติ = สมุทฺโท อิติ เอว สงฺขยํ คจฺฉติ
สุตฺตวิภตฺเตน
เอวสทฺเท ปเร อญฺญติ-การสฺส วตฺตํฯ
ด้วยการแบ่งสูตร
ถ้ามี เอว อยู่หลัง ติของอักษรอื่นๆ เป็น วฺ ได้ เช่นกัน. ตัวอย่างเช่น
วิลปตฺเวว โส
ทิโช
=วิลปติ เอว โส ทิโช
อนุเสตฺเววสฺส
กามราโค,
=อนุเสติ + เอว + อสฺส กามราโค
อนุเสตฺเววสฺส
รูปราโค =อนุเสติ+เอว+อสฺสา รูปราโค
โหตฺเวว การิยสนฺนิฏฺฐานํ
= โหติ เอว การิยสนฺนิฏฺฐานํ
โหเตว วา
ไม่เป็นไปตามหลักการนี้ก็มี
คิอ เป็น โหเตว.
-----------------
[1] รู. ๓๓ (ปิฏฺเฐ)
[2] อุทา. ๔๕
[3] ที. นิ. ๓.๑๓๑
[4] ม. นิ. ๓.๑๓๓
[5] ชา. ๑.๖.๑๐๓
[6] แยกตามหลักการของสูตรนี้ว่า อิตฺวฺ + เอว เขียนรูปตามหลักอักขรวิธีของไทย
คือ อิเตฺวว เพราะ ตฺวฺ เป็นสังโยค มีพยัญชนะสองตัวติดกันไม่มีสระคั่นกลาง แต่เอ
นั้น เป็นสระของ ตฺวฺ พยัญชนสังโยค ดังนั้น จึงนำมาวางไว้ข้างหน้า ตฺว.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น