วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๓๓. แปลง เอ และ โอ เป็น อ

๔๑. เอโอนม วณฺเณ[1]
สรพฺยญฺชนภูเต วณฺเณ ปเร เอ, โอนํ อตฺตํ โหติ วาฯ  ตตฺถ เอสฺส อตฺตํ เยภุยฺเยน ม, ทาคเมสฺเวว โหติฯ
อกรมฺหส เต กิจฺจํ[2]อกรมฺหเสตฺยตฺโถ, ทิสฺวา ยาจกมาคเต[3], ทิสฺวา ปณฺฑิตมาคเต[4], ยมาหุ นตฺถิ วีริยนฺติ[5]เย+อาหุตฺยตฺโถฯ กทสฺสุ เก+อสฺสุ, ยเทว เต ชาตินิสฺสิตา, ตเทว เต ชรานิสฺสิตาเย+เอว, เต+เอวาติ เฉโท, สฺเว ภโว สฺวาตนํ[6]พฺยญฺชเน ทีโฆฯ
โอมฺหิ
ส สีลวา[7], ส ปญฺญวา, ส เว กาสาวมรหติ[8], เอส อตฺโถ, เอส ธมฺโม[9], ทินฺนมาสิ ชนินฺเทน[10]ทินฺโน+อาสีติ เฉโท, มคฺคมตฺถิ [11]มคฺโค+อตฺถิ, อคฺคมกฺขายติ[12], ปจฺจยาการเมว จ[13], สงฺโฆ ปพฺพตมิว, สทฺโท จิจฺจิฏมิว, หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตนํ, ปาโต อสนํ ปาตราโส, ปาตมนุสิฏฺโฐ, กกุสนฺธ โกณาคมโน, เถร วาทานมุตฺตโม กกุสนฺโธติ จ เถโรติ จ เฉโท, เถรวาโทติ อตฺโถฯ
สุตฺตวิภตฺเตน อนิมิตฺเตปิ โหติฯ ตุวญฺจ ธนุเสข จ[14], ปจฺจยมหาปเทโส เหส, เอกโกฏฺฐาโส เอสอภิลาปมตฺตเภโท เอส อิจฺจาทิฯ

------------------------

๔๑. เอโอนม วณฺเณ
เพราะสระหรือพยัญชนะเป็นนิมิต เอ และ โอ จะเป็น อ.

สรพฺยญฺชนภูเต วณฺเณ ปเร เอ, โอนํ อตฺตํ โหติ วาฯ  
สระก็ตาม พยัญชนะก็ตาม เอ และ โอ  อาจเป็น อ ได้บ้าง.

ตตฺถ เอสฺส อตฺตํ เยภุยฺเยน ม, ทาคเมสฺเวว โหติฯ
การแปลงเอ และ โอ นั้น การแปลงเอ เป็น อ ส่วนมากจะใช้ในกรณีที่มี ม และ ท อาคมอยู่หลัง.

๑) ตัวอย่างในแปลงเอ เป็น อ
อกรมฺหส เต กิจฺจํ = อกรมฺหเส เต กิจฺจํ.
ทิสฺวา ยาจกมาคเต = ทิสฺวา ยาจเก อาคเต
ทิสฺวา ปณฺฑิตมาคเต = ทิสฺวา ปณฺฑิเต อาคเต
ยมาหุ นตฺถิ วีริยนฺติ = เย อาหุ นตฺถิ วีริยํ
กทสฺสุ = เก อสฺสุ
ยเทว เต ชาตินิสฺสิตา = เย+เอว เต ชาตินิสฺสิตา
ตเทว เต ชรานิสฺสิตา= เต+เอว เต ชรานิสฺสิตา

สฺเว ภโว สฺวาตนํ = สฺเว ภโว สฺเว ตนํ[15]
พฺยญฺชเน ทีโฆฯ
รูปนี้ทีฆะเป็น สฺวา (เพราะ ตฺพยัญชนะที่ ตฺนํ)

โอมฺหิ
๒) ตัวอย่างในการแปลง โอ เป็น อ

ส สีลวา =  โส สีลวา
ส ปญฺญวา =  โส ปญฺญวา 
ส เว กาสาวมรหติ =  โส เว กาสาวํ อรหติ
เอส อตฺโถ = เอโส อตฺโถ,
เอส ธมฺโม = เอโส ธมฺโม
ทินฺนมาสิ ชนินฺเทน = ทินฺโน อาสิ ชนินฺเทน
มคฺคมตฺถิ = มคฺโค อตฺถิ,
อคฺคมกฺขายติ = อคฺโค อกฺขายติ
ปจฺจยาการเมว จ = ปจฺจยากาโร เอว จ
สงฺโฆ ปพฺพตมิว, = สงฺโฆ ปพฺพโต อิว
สทฺโท จิจฺจิฏมิว, = สทฺโท จิจฺจิโฏ อิว
หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตนํ, = หิยฺโย ตฺตนํ
ปาโต อสนํ ปาตราโส  = อาหารในเวลาเช้า (ปาโต เป็นนิบาตบอกอรรถว่าเช้า)
ปาตมนุสิฏฺโฐ = ปาโต อนุสิฏฺโฐ
กกุสนฺธ โกณาคมโน =, กกุสนฺโธ โกณาคมโน
เถร วาทานมุตฺตโม = เถโร วาทานํ อุตฺตโม

กกุสนฺโธติ จ เถโรติ จ เฉโท, เถรวาโทติ อตฺโถฯ
สองตัวอย่างนี้ตัดเป็น กกุสนฺโธ และ เถโร, ความหมายคือ เถรวาท[16]

สุตฺตวิภตฺเตน อนิมิตฺเตปิ โหติฯ
ด้วยการแบ่งสูตร แม้ในที่ปราศจากนิมิต เอ หรือ โอ แปลงเป็น อ ก็ได้ เช่น

ตุวญฺจ ธนุเสข จ =  ตุวญฺจ ธนุเสโข จ[17]
ปจฺจยมหาปเทโส เหส = ปจฺจยมหาปเทโส หิ เอโส
เอกโกฏฺฐาโส เอส = เอกโกฏฺฐาโส เอโส
อภิลาปมตฺตเภโท เอส = อภิลาปมตฺตเภโท เอโส[18]






[1] [ก. ๒๗; รู ๓๙; นี. ๖๖, ๑๖๓-๔]
[2] [ชา. ๑.๔.๒๙]
[3] [ชา. ๑.๗.๕๘; ๒.๒๒.๒๒๖๑]
[4] [ชา. ๒.๒๒.๗๘๓]
[5] [ชา. ๒.๑๘.๑๖๒]
[6] [ปารา. ๒๒]
[7] [ธ. ป. ๘๔]
[8] [ธ. ป. ๑๐]
[9] [ธ. ป. ๕]
[10] [ชา. ๒.๒๒.๒๑๖๑ (ทินฺนมฺหาติ ชนินฺเทน)]
[11] [วิภ. อฏฺฐ. ๑๘๙]
[12] [อ. นิ. ๑.๔๗]
[13] [วิภ. อฏฺฐ. ๒๒๕]
[14] [ชา. ๑.๑๖.๒๓๙]
[15] รูปนี้ลง ตนํ ปัจจัยท้าย สฺวเอ แปลง เอ เป็น อ ด้วยสูตรนี้ เป็น สฺวตน ทีฆะเป็น สฺวา เพราะ ตฺพยัญชนะที่ ตฺนํ
[16]  คำว่า เถโร ในที่นี้ คือ เถรวาโท หมายความว่า เถรวาท คือ วาทะของพระเถระ คือพระอรหันต์ผู้ร่วมสังคายนาครั้งที่ ๑  เป็นเลิศแห่งวาทะทั้งหลาย.
[17] ตตฺถ ธนุเสขจาติ ธนุเสโข จ, ธนุเสขกุมาโร จาติ อตฺโถฯ อุมฺมงฺคชาตกวณฺณนา เป็น ตฺวญฺเจว
[18] ในกรณีนี้ เอโส อยู่ท้ายบาท จึงไม่มีสระหรือพยัญชนะอันเป็นนิมิตมาต่อท้าย ในที่นี้เช่นนี้ แปลง โอ เป็น อ ก็ควร เพราะตัดบทว่า วณฺเณ ที่เป็นนิมิตออกไป.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น