วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๒๕. รัสสสนธิ จบทีฆะและรัสสะ

รสฺสสนฺธิมฺหิ คาถาวเสน ตาว
ยิฏฺฐํวหุตํว โลเก [ธ. ป. ๑๐๘], โภวาทิ นาม โส โหติ [ธ. ป. ๓๙๖; สุ. นิ. ๖๒๕], ยถาภาวิ คุเณน โส อิจฺจาทิฯ
ในสนธิโดยทำเป็นรัสสะ แบ่งฐานะการทำเป็นรัสสะได้ดังนี้
๑) เนื่องด้วยคาถา ตัวอย่างเช่น
ยิฏฺฐํ ว หุตํ ว โลเก = ยิฏฺฐํ วา หุตํ วา โลเก
โภวาทิ นาม โส โหติ = โภวาที นาม โส โหติ
ยถาภาวิ คุเณน โส = ยถาภาวี คุเณน โส

อาคเม ย, , ทาคเมสุ ปุพฺพรสฺโส
ยถยิทํ [อ. นิ. ๑.๑-๔], ตถยิทํ, ยถริว อมฺหากํ ภควา, ตถริว ภิกฺขุสงฺโฆ, สมฺมเทว สมาจเร [สํ. นิ. ๑.๑๑๒], สมฺมทกฺขาโต มยา สติสมฺโพชฺฌงฺโค [สํ. นิ. ๕.๑๙๔] อิจฺจาทิฯ
๒) ในที่ลงอาคม คือ ย ร และ ท สระหน้าจะเป็นรัสสะ ตัวอย่างเช่น
ยถยิทํ = ยถา อิทํ
ตถยิทํ = ตถา อิทํ
ยถริว อมฺหากํ ภควา= ยถา อิว อมฺหากํ ภควา
ตถริว ภิกฺขุสงฺโฆ = ตถา อิว ภิกฺขุสงฺโฆ
สมฺมเทว สมาจเร = สมฺมา เอว สมาจเร
สมฺมทกฺขาโต มยา สติสมฺโพชฺฌงฺโค = สมฺมา อกฺขาโต มยา สติสมฺโพชฺฌงฺโค.

สํโยครสฺโส นาม พหุลํ ลพฺภติ
อกฺกโม, ปรกฺกโม, อกฺขาโต, อญฺญา, อญฺญินฺทฺริยํ, อญฺญาตํ ภควา, อญฺญาตํ สุคต, อตฺถรณํ, อปฺโผเฏติ, อลฺลิยติ, อจฺฉินฺทติ, อสฺสาโท, อาภสฺสโร, ปภสฺสโร, สพฺพญฺญุตญฺญาณํ, ฌานสฺส ลาภิมฺหิ วสิมฺหิ [ปารา. ๒๐๓-๒๐๔]
๓) โดยทั่วไป จะพบรัสสสระที่อยู่หน้าสังโยค เป็นส่วนใหญ่ เช่น
อกฺกโม = อา กโม
ปรกฺกโม = ปรา กโม
อกฺขาโต = อา ขาโต
อญฺญา = อา ญา
อญฺญินฺทฺริยํ = อา ญินฺทฺริยํ
อญฺญาตํ ภควา = อาญาตํ ภควา
อญฺญาตํ สุคตํ = อาญาตํ สุคต
อตฺถรณํ = อา ถรณํ
อปฺโผเฏติ = อา โผเฏติ
อลฺลิยติ, = อา ลียติ
อจฺฉินฺทติ, = อา ฉินฺทติ
อสฺสาโท, = อา สาโท
อาภสฺสโร, = อาภา สโร
ปภสฺสโร, = ปภา สโร
สพฺพญฺญุตญฺญาณํ, = สพฺพญฺญุตํ ญาณํ
ฌานสฺส ลาภิมฺหิ วสิมฺหิ = ฌานสฺส ลาภี อมฺหิ, วสี อมฺหิ

ตา, โตปจฺจเยสุปิ รสฺโส
กตญฺญุตา, อตฺถญฺญุตา, ธมฺมญฺญุตา, กญฺญโต, นทิโต, วธุโตฯ
๔) ในกรณีที่มี ตา และ โตปัจจัยอยู่ข้างหลัง สระหน้าต้องเป็นรัสสะ
กตญฺญุตา = กตญฺญู ตา
อตฺถญฺญุตา =, อตฺถญฺญู ตา
ธมฺมญฺญุตา =, ธมฺมญฺญู ตา
กญฺญโต =, กญฺญา โต
นทิโต =, นที โต
วธุโต =วธู โต

สมาเส
อิตฺถิปุมํ, อิตฺถิลิงฺคํ, อิตฺถิภาโว, สพฺพญฺญุพุทฺโธ อิจฺจาทิฯ
๕) ในกรณีที่เข้าสมาส สระหน้าเป็นรัสสะ
อิตฺถิปุมํ =  อิตฺถี + ปุมํ
อิตฺถิลิงฺคํ =, อิตฺถี + ลิงฺคํ
อิตฺถิภาโว =, อิตฺถี + ภาโว
สพฺพญฺญุพุทฺโธ =สพฺพญฺญู + พุทฺโธ


อิติ รสฺสราสิฯ
ทีฆ, รสฺสราสิ นิฏฺฐิโตฯ
กลุ่มการทำสนธิโดยทำเป็นรัสสะ เป็นอย่างนี้

และกลุ่มการทำสนธิโดยทำเป็นทีฆะและรัสสะ จบแล้ว.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น