วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๒๒. เมื่อลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง

ปุพฺพลุตฺเต ตาว
ตตฺรายมาทิ ภวติํ [ธ. ป. ๓๗๕], ตตฺราภิรติมิจฺเฉยฺย [ธ. ป. ๘๘; สํ. นิ. ๕.๑๙๘], พุทฺธานุสฺสติ, สทฺธีธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฺฐํ [สุ. นิ. ๑๘๓], อนาคาเรหิ จูภยํ [ธ. ป. ๔๐๔; สุ. นิ. ๖๓๓], ธมฺมูปสํหิตา [ที. นิ. ๒.๓๔๙], ตถูปมํ ธมฺมวรํ อเทสยิ [ขุ. ปา. ๖.๑๓], เตสํ วูปสโม สุโข [ที. นิ. ๒.๒๒๑] อิจฺจาทิฯ

สารัตถะของสูตร -
๑) เมื่อลบสระหน้า สระหลัง อันเป็นรัสสะที่เหลือ เป็นทีฆสระ
ตตฺรยมาทิ ภวติ = ตตฺร + อยมาทิ ภวติ นี้เป็นเหตุเบื้องต้น เพื่อเป็นผู้มีปัญญาในพระศาสนานี้
ตตฺราภิรติมิจฺเฉยฺย = ตตฺร + อภิรตึ อิจฺเฉยฺย
พุทฺธานุสฺสติ = พุทฺธ + อนุสฺสติ
สทฺธีธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฺฐํ = สทฺธา + อิธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฺฐํ
อนาคาเรหิ จูภยํ = อนาคาเรหิ จ อุภยํ
ธมฺมูปสํหิตา = ธมฺม + อุปสํหิตา
ตถูปมํ ธมฺมวรํ อเทสยิ = ตถา อุปมํ ธมฺมวรํ อเทสยิ
เตสํ วูปสโม สุโข = เตสํ ว + อุปสมโส สุโข

สาระที่ได้จากการศึกษา
โปรดสังเกต :

ทุกตัวอย่าง จะลบสระหน้า และ ทีฆสระหลัง ซึ่งเป็นรัสสะ 

*****


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น